บึงกาฬ

บึงกาฬ" เปลี่ยนทางมาที่นี่ สำหรับคว

บึงกาฬ" เปลี่ยนทางมาที่นี่ สำหรับความหมายอื่น ดูที่ บึงกาฬ (แก้ความกำกวม)
จังหวัดบึงกาฬ
ตราประจำจังหวัดบึงกาฬ
ตราประจำจังหวัด
ภูทอกแหล่งพระธรรม ค่าล้ำยางพารา งามตาแก่งอาฮง บึงโขงหลงเพลินใจ น้ำตกใสเจ็ดสี ประเพณีแข่งเรือ เหนือสุดแดนอีสาน นมัสการหลวงพ่อใหญ่ ศูนย์รวมใจศาลสองนาง
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออักษรไทย บึงกาฬ
ชื่ออักษรโรมัน Bueng Kan
นายกองค์การบริหาร นายพงษ์ศักดิ์ ปรีชาวิทย์
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2557)
ISO 3166-2 TH-38
ต้นไม้ประจำจังหวัด สิรินธรวัลลี (สามสิบสองประดง)[1]
ดอกไม้ประจำจังหวัด สิรินธรวัลลี (สามสิบสองประดง)[1]
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 4,305.0 ตร.กม.
(อันดับที่ 52)
ประชากร 416,236 คน[2] (พ.ศ. 2556)
(อันดับที่ 62)
ความหนาแน่น 96.68 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 49)
ศูนย์ราชการ
ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดบึงกาฬ หมู่ที่ 5 ตำบลบึงกาฬ อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000
โทรศัพท์ (+66) 0 4249 2715
โทรสาร (+66) 0 4249 2716
เว็บไซต์ จังหวัดบึงกาฬ
แผนที่

แผนที่ประเทศไทย เน้นจังหวัดบึงกาฬ
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย
จังหวัดบึงกาฬ เป็นจังหวัดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554 อันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป[3] โดยแยกอำเภอบึงกาฬ อำเภอเซกา อำเภอโซ่พิสัย อำเภอบุ่งคล้า อำเภอบึงโขงหลง อำเภอปากคาด อำเภอพรเจริญ และอำเภอศรีวิไล ออกจากการปกครองของจังหวัดหนองคาย

เนื้อหา [ซ่อน]
1 การจัดตั้ง
2 ภูมิศาสตร์
2.1 อาณาเขต
2.2 สภาพภูมิประเทศ
2.3 สภาพอากาศ
3 การปกครอง
3.1 หน่วยการปกครอง
4 ประชากรในจังหวัด
4.1 ผู้ว่าราชการจังหวัด
5 สถาบันศึกษา
6 การสาธารณสุข
7 ห้างสรรพสินค้าในบึงกาฬ
8 การท่องเที่ยว
9 วัฒนธรรม
9.1 ประเพณี
10 ดูเพิ่ม
11 อ้างอิง
12 แหล่งข้อมูลอื่น
การจัดตั้ง[แก้]

โครงร่างศาลากลางจังหวัดบึงกาฬ
ใน พ.ศ. 2537 นายสุเมธ พรมพันห่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเสรีธรรม จังหวัดหนองคาย เสนอให้จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬขึ้น โดยกำหนดจะแยกพื้นที่อำเภอบึงกาฬ อำเภอปากคาด อำเภอโซ่พิสัย อำเภอพรเจริญ อำเภอเซกา อำเภอบึงโขงหลง อำเภอศรีวิไล และอำเภอบุ่งคล้า ออกจากจังหวัดหนองคาย รวมเป็นท้องที่ทั้งหมด 4,305 ตารางกิโลเมตร[4] และมีประชากรประมาณ 390,000 คน[5] อย่างไรก็ดี กระทรวงมหาดไทย แจ้งผลการพิจารณาว่า ยังไม่มีแผนที่จะยกฐานะอำเภอบึงกาฬขึ้นเป็นจังหวัด เพราะการจัดตั้งจังหวัดใหม่เป็นการเพิ่มภาระด้านงบประมาณ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มกำลังคนภาครัฐ ซึ่งจะขัดกับมติคณะรัฐมนตรี[6]

โครงการร้างมาเกือบ 20 ปี กระทั่ง พ.ศ. 2553 กระทรวงมหาดไทย ได้นำเรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ เสนอเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง เพื่อยก "ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. ..."[5] ผลการสำรวจความเห็นของประชาชนจังหวัดหนองคายในคราวเดียวกัน ปรากฏว่า ร้อยละ 98.83 เห็นด้วยกับการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ [5] ต่อมา วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ[7] [8][9] นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีจึงถวายร่างพระราชบัญญัติให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย โดยทรงลงเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 นำประกาศเป็น "พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554" ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 และใช้บังคับในวันรุ่งขึ้น[3] [10] โดยให้เหตุผลว่า[11]

เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในเรื่องอำเภอ จำนวนประชากร และลักษณะพิเศษของจังหวัด อีกทั้งยังเป็นผลดีต่อการให้บริการแก่ประชาชน,
จังหวัดหนองคายเป็นพื้นที่แนวยาวทอดตามแม่น้ำโขง จึงมีผลต่อการรักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยตามแนวชายแดน,
จังหวัดหนองบัวลำภูและจังหวัดอำนาจเจริญที่เคยตั้งขึ้นใหม่ก็มีเนื้อที่น้อยกว่าหลักเกณฑ์มติคณะรัฐมนตรีเช่นกัน,
จังหวัดที่ตั้งขึ้นใหม่ไม่ให้บริการสาธารณะซ้ำซ้อนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
บุคลากรจำนวน 439 อัตรา สามารถกระจายกันในส่วนราชการได้ ไม่มีผลกระทบมากนัก
ต่อมารัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ "ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. ..." เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554[12] นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีจึงถวายร่างพระราชบัญญัติให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย โดยทรงลงเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 นำประกาศเป็น "พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554" ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 และใช้บังคับในวันรุ่งขึ้น[3] เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ มีว่า

"...เนื่องจากจังหวัดหนองคายเป็นจังหวัดที่มีท้องที่ติดชายแดน และมีลักษณะภูมิประเทศเป็นแนวยาว ทำให้การติดต่อระหว่างอำเภอที่ห่างไกลและจังหวัดเป็นไปด้วยความยากลำบาก และใช้ระยะเวลาในการเดินทางมากเกินควร ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการจัดระเบียบการปกครอง การรักษาความมั่นคง และการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในท้องที่ สมควรแยกอำเภอบึงกาฬ อำเภอเซกา อำเภอโซ่พิสัย อำเภอบุ่งคล้า อำเภอบึงโขงหลง อำเภอปากคาด อำเภอพรเจริญ และอำเภอศรีวิไล จังหวัดหนองคาย ออกจากการปกครองของจังหวัดหนองคาย รวมตั้งขึ้นเป็นจังหวัดบึงกาฬ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้"

นอกจากมาตรา 3 ของพระราชบัญญัติดังกล่าว ที่ให้จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ โดยมีองค์ประกอบเป็นอำเภอทั้งแปดข้างต้นแล้ว มาตรา 4 ยังให้เปลี่ยนชื่อ "อำเภอบึงกาฬ" เป็น "อำเภอเมืองบึงกาฬ" ด้วย

เมื่อวันที่ 22-25 มีนาคม พ.ศ. 2554 ได้มีการจัดงานฉลองจังหวัดบึงกาฬอย่างยิ่งใหญ่ โดยมี นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานในพิธี[13] ต่อมารัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ "ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. ..." เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554[14] นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีจึงถวายร่างพระราชบัญญัติให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย โดยทรงลงเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 นำประกาศเป็น "พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554" ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 และใช้บังคับในวันรุ่งขึ้น[15]

ภูมิศาสตร์[แก้]

ภูทอก
อาณาเขต[แก้]
บึงกาฬเป็นจังหวัดที่มีเขตพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาว โดยมีแม่น้ำโขงเป็นแนวพรมแดน

ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงบริคำไชย ประเทศลาว
ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบริคำไชย ประเทศลาว และจังหวัดนครพนม
ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดสกลนคร
ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงบริคำไชย ประเทศลาว และจังหวัดหนองคาย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บึงกาฬ "เปลี่ยนทางมาที่นี่สำหรับความหมายอื่นดูที่บึงกาฬ ค่าล้ำยางพารางามตาแก่งอาฮงบึงโขงหลงเพลินใจน้ำตกใสเจ็ดสีประเพณีแข่งเรือเหนือสุดแดนอีสานนมัสการหลวงพ่อใหญ่ Boonpradub ร้อน Buchstabe โรมันบึงกาฬนายกองค์การบริหารนายพงษ์ศักดิ์ปรีชาวิทย์(ตั้งแต่ พ.ศ. 2557) ISO 3166-2 TH-38 ต้นไม้ประจำจังหวัดสิรินธรวัลลี สิรินธรวัลลี 4,305.0 ตร.กม. (อันดับที่ 52) ประชากรคน 416.236 [2] (พ.ศ. 2556) (อันดับที่ 62) ความหนาแน่นคน 96.68 / ตร.กม. (อันดับที่ 49) ผลิตหัวหน้าทีมราชการsiamhardware Balancing สุมุมมองที่ประกอบกิจ จังหวัดบึงกาฬหมู่ที่ 5 ตำบลบึงกาฬอำเภอเมืองบึงกาฬจังหวัดบึงกาฬ 38000 โทรศัพท์ (+66) 0 4249 2715 โทรสาร (66) 0 4249 2716 เว็บไซต์ เป็นจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2554 อันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป [3] โดยแยกอำเภอบึงกาฬอำเภอเซกาอำเภอโซ่พิสัยอำเภอบุ่งคล้าอำเภอบึงโขงหลงอำเภอปากคาดอำเภอพรเจริญและอำเภอศรีวิไล [ซ่อน] 1 การจัดตั้ง2 ภูมิศาสตร์2.1 อาณาเขตสภาพภูมิประเทศ 2.2 2.3 สภาพอากาศ3 การปกครอง3.1 หน่วยการปกครอง4 ประชากรในจังหวัด4.1 ผู้ว่าราชการจังหวัด5 สถาบันศึกษาการสาธารณสุข 6 7 ห้างสรรพสินค้าในบึงกาฬการท่องเที่ยว 8 9 วัฒนธรรม9.1 ประเพณี10 ดูเพิ่ม11 อ้างอิง12 พ.ศ. 2537 นายสุเมธพรมพันห่าวสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเสรีธรรมจังหวัดหนองคายเสนอให้จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬขึ้นโดยกำหนดจะแยกพื้นที่อำเภอบึงกาฬอำเภอปากคาดอำเภอโซ่พิสัยอำเภอพรเจริญอำเภอเซกาอำเภอบึงโขงหลงอำเภอศรีวิไลและอำเภอบุ่งคล้า ออกจากจังหวัดหนองคายรวมเป็นท้องที่ทั้งหมด 4,305 ตารางกิโลเมตร [4] และมีประชากรประมาณ 390,000 คน [5] อย่างไรก็ดีกระทรวงมหาดไทยแจ้งผลการพิจารณาว่า 20 ปีกระทั่ง พ.ศ. 2553 กระทรวงมหาดไทย เพื่อยก พ.ศ. ... "[5] ปรากฏว่าร้อยละ 98.83 [5] ต่อมาวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 [8] [9] นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ โดยทรงลงเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 นำประกาศเป็น "พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554" ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 และใช้บังคับในวันรุ่งขึ้น [3] [10] จำนวนประชากรและลักษณะพิเศษของจังหวัด และบุคลากร 439 จำนวนอัตราสามารถกระจายกันในส่วนราชการได้ พ.ศ. ... "เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 [12] นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ โดยทรงลงเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 นำประกาศเป็น "พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554 "ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 และใช้บังคับในวันรุ่งขึ้น [3] เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ และมีลักษณะภูมิประเทศเป็นแนวยาว ดังนั้น การรักษาความมั่นคง สมควรแยกอำเภอบึงกาฬอำเภอเซกาอำเภอโซ่พิสัยอำเภอบุ่งคล้าอำเภอบึงโขงหลงอำเภอปากคาดอำเภอพรเจริญและอำเภอศรีวิไลจังหวัดหนองคายออกจากการปกครองของจังหวัดหนองคายรวมตั้งขึ้นเป็นจังหวัดบึงกาฬ 3 ของพระราชบัญญัติดังกล่าวที่ให้จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ มาตรา 4 ยังให้เปลี่ยนชื่อ "อำเภอบึงกาฬ" เป็น "อำเภอเมืองบึงกาฬ" SW เมื่อ tobthe siamhardware 22-25 มีนาคม พ.ศ. 2554 โดยมีนายชวรัตน์ชาญวีรกูลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นประธานในพิธี [13] ต่อมารัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ พ.ศ. ... "เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 [14] นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ โดยทรงลงเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 นำประกาศเป็น "พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554" ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 ติดต่อ -liced ​​แขวง kukkik เสียงบำรุง© kibangkok ประเทศ Laosz ทิศติดต่อนอร์ liced ​​แขวง kukkik เสียงบำรุง© kibangkok ประเทศ Laosz และจังหวัดนครพนมทิศตัวแทนจำหน่าย Province Sud-liced ​​ติดต่อติดต่อทิศ Ouest-liced ​​แขวง kukkik เสียงบำรุง© kibangkok ประเทศ Laosz และจังหวัดหนองคาย















































































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: