1 สภาพทางกายภาพ จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 20,800 ตารางกิโลเมตร (13 ล้านไร่) หรือคิดเป็นร้อยละ 29.4 ของพื้นที่ภาคใต้ และร้อยละ 4.1 ของพื้นที่ประเทศ ประกอบด้วยพื้นที่เกษตร ประมาณ 6.9 ล้านไร่ หรือร้อยละ 52.9 ของพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วนที่เหลือเป็นพื้นที่ชุมชน อุตสาหกรรม และพื้นที่อื่นๆ ร้อยละ 47.1 ที่ตั้งของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อยู่ห่างไกลกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศเฉลี่ยประมาณ 1,000 กม. ซึ่งไกลกว่าภาคอื่นๆ และมีผลกระทบต่อแรงกระตุ้นในการพัฒนาเศรษฐกิจจากส่วนกลาง
2 โครงสร้างเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ โครงสร้างการผลิตในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีฐานแคบ พึ่งพาผลผลิตด้านการเกษตรไม่กี่ชนิด เช่น ยางพารา น้ำมันปาล์ม และประมง โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ปี 2542 ประมาณ 158,900 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.4 ของประเทศและมีสัดส่วนการผลิตในภาคเกษตรสูงถึงร้อยละ41 ของ GPP สัดส่วนในภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 10 ส่วนที่เหลือร้อยละ 49 เป็นการผลิตในภาคบริการที่มีสัดส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวและการค้าบริการ ระบบคมนาคมขนส่งสายหลักและสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่เขตเศรษฐกิจหลัก ค่อนข้างพร้อม โดยได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องภายใต้แผนแม่บท แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบคมนาคมและสาธารณูปโภค สาธารณูปการสายรองเพิ่มเติม ให้กระจายสู่ฐานการผลิตและแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ด้านการกระจายรายได้ ประชากรในพื้นที่ชายแดนภาคใต้มีรายได้เฉลี่ย 47,995 บาทต่อคนต่อปี ต่ำกว่ารายได้ต่อหัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (74,675 บาท/คน/ปี)และรายได้ต่อหัวเฉลี่ยของภาคใต้ (51,284บาท/คน/ปี) นอกจากนี้ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีปัญหาด้านการกระจายรายได้ โดยสงขลา ซึ่งเป็นจังหวัด มีประชากรมากที่สุดมีรายได้เฉลี่ยสูงสุด 59,000 บาทต่อคนต่อปี ในขณะที่นราธิวาสมีรายได้เฉลี่ยต่ำสุดเพียง 29,000 บาท ต่อคนต่อปี ใกล้เคียงกับรายได้เฉลี่ยของมุกดาหารในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเพชรบูรณ์ น่านและพะเยาในภาคเหนือ
3 การลงทุนภาคอุตสาหกรรม ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา มีการลงทุนภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างสูงในพื้นที่จังหวัดสงขลา โดยเฉพาะตามแนวเส้นทางหาดใหญ่-สะเดา โดยมีจำนวนโครงการลงทุนที่ขอส่งเสริมการลงทุนโดยเฉลี่ยปีละ 40-50 โครงการ เงินลงทุนเฉลี่ยประมาณปีละ 5,000 ล้านบาท การกระจายตัวของการลงทุนไปยังอีก 4 จังหวัดชายแดนได้แก่ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล ไม่มากนัก อุตสาหกรรมที่ลงทุนส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้วัตถุดิบในพื้นที่ ได้แก่
อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรประเภทผลิตภัณฑ์ประมง อาหาร ยางพารา และเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพารา เป็นต้น
4 สภาพสังคม ประชากรในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีประชากร 3.27 ล้านคนเป็นประชากรมุสลิม ร้อยละ 62 และหากพิจารณาเฉพาะประชากรใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ไม่นับรวมสงขลา) จะมีประชากรมุสลิมถึงร้อยละ 82 ซึ่งมีวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติตามศาสนบัญญัติของมุสลิม ซึ่งมีผลต่อแนวคิดด้านการศึกษา การประกอบอาชีพและความเป็นอยู่ที่เป็นเอกลักษณ์ของพื้น
1 สภาพทางกายภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้มีพื้นที่ประมาณ 20,800 ตารางกิโลเมตร (13 ล้านไร่) หรือคิดเป็นร้อยละ 29.4 ของพื้นที่ภาคใต้และร้อยละ 4.1 ของพื้นที่ประเทศประกอบด้วยพื้นที่เกษตรประมาณ 6.9 ล้านไร่หรือร้อยละ 52.9 ของพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนที่เหลือเป็นพื้นที่ชุมชนอุตสาหกรรมและพื้นที่อื่น ๆ ร้อยละ 47.1 ที่ตั้งของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อยู่ห่างไกลกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศเฉลี่ยประมาณ 1,000 กม ซึ่งไกลกว่าภาคอื่น ๆ และมีผลกระทบต่อแรงกระตุ้นในการพัฒนาเศรษฐกิจจากส่วนกลาง 2 โครงสร้างเศรษฐกิจและการกระจายรายได้จังหวัดชายแดนภาคใต้มีฐานแคบพึ่งพาผลผลิตด้านการเกษตรไม่กี่ชนิดเช่นโครงสร้างการผลิตในพื้นที่ 5 ยางพาราน้ํามันปาล์มและประมงโดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) 2542 ประมาณล้านบาทปี 158,900 คิดเป็นร้อยละ 3.4 ของประเทศและมีสัดส่วนการผลิตในภาคเกษตรสูงถึงร้อยละ41 นั้น ๆ ร้อยละ 10 ส่วนที่เหลือร้อยละ GPP สัดส่วนในภาคอุตสาหกรรม 49 เป็นการผลิตในภาคบริการที่มีสัดส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวและการค้าบริการระบบคมนาคมขนส่งสายหลักและสิ่งอํานวยความสะดวกในพื้นที่เขตเศรษฐกิจหลักค่อนข้างพร้อมโดยได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องภายใต้แผนแม่บทแต่อย่างไรก็ตามยังคงมีความจําเป็นต้องพัฒนาระบบคมนาคมและสาธารณูปโภคสาธารณูปการสายรองเพิ่มเติมให้กระจายสู่ฐานการผลิตและแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ด้านการกระจายรายได้ประชากรในพื้นที่ชายแดนภาคใต้มีรายได้เฉลี่ย 47,995 บาทต่อคนต่อปีต่ํากว่ารายได้ต่อหัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (74,675 บาท/คน/ปี) (51, 284บาท/คน/ปี) และรายได้ต่อหัวเฉลี่ยของภาคใต้นอกจากนี้ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีปัญหาด้านการกระจายรายได้โดยสงขลาซึ่งเป็นจังหวัดมีประชากรมากที่สุดมีรายได้เฉลี่ยสูงสุด 59,000 บาทต่อคนต่อปีในขณะที่นราธิวาสมีรายได้เฉลี่ยต่ําสุดเพียง 29,000 บาทต่อคนต่อปีใกล้เคียงกับรายได้เฉลี่ยของมุกดาหารในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเพชรบูรณ์น่านและพะเยาในภาคเหนือ 3 การลงทุนภาคอุตสาหกรรมในระยะ 5 ปีที่ผ่านมามีการลงทุนภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างสูงในพื้นที่จังหวัดสงขลาโดยมีจํานวนโครงการลงทุนที่ขอส่งเสริมการลงทุนโดยเฉลี่ยปีละโดยเฉพาะตามแนวเส้นทางหาดใหญ่สะเดา 40-50 ความคืบหน้าของเงินลงทุนเฉลี่ยประมาณปีละ 5000 ล้านบาทการกระจายตัวของการลงทุนไปยังอีก 4 จังหวัดชายแดนได้แก่ปัตตานียะลานราธิวาสและสตูลไม่มากนักอุตสาหกรรมที่ลงทุนส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้วัตถุดิบในพื้นที่ได้แก่ อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรประเภทผลิตภัณฑ์ประมงอาหารยางพาราและเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพาราเป็นต้น 4 สภาพสังคมประชากรในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีประชากรหยดน้ำ 3.27 ล้านคนเป็นประชากรมุสลิมร้อยละ 62 และหากพิจารณาเฉพาะประชากรใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ไม่นับรวมสงขลา) จะมีประชากรมุสลิมถึงร้อยละ 82 ซึ่งมีวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติตามศาสนบัญญัติของมุสลิมซึ่งมีผลต่อแนวคิดด้านการศึกษาการประกอบอาชีพและความเป็นอยู่ที่เป็นเอกลักษณ์ของพื้น
การแปล กรุณารอสักครู่..